การสร้างแหล่งโปรตีน
ตารางความสัมพันธ์
Core subjectหน่วย: การสร้างแหล่งโปรตีน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 / 2559
สุขภาพ
|
เศรษฐ์ศาสตร์และการประกอบการ
|
สิ่งแวดล้อม
|
หน้าที่พลเมือง
|
เนื้อสัตว์ที่ได้จากโปรตีนปลอดภัยจากสารเคมี
การสร้างแหล่งโปรตีนธรรมชาติโดยไม่สารเคมีและไม่มีสารเร่งให้โต
ผักปลอดภัย
การปลูกพืชโดยดูแลด้วยวิธีการทางธรรมชาติ
ไม่อาศัยสารเคมี
- สารอาหารที่ได้จากพืชผักที่ปลอดสารเคมี
สารประกอบต่างที่อยู่ในผัก
ที่มีคุณสมบัติส่งเสริมสุขภาพ เช่น ลูทีน ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ
ช่วยลดการเกิดความเสื่อมของจอประสาทตา
สารต้านอนุมูลอิสระหลายตัวด้วยกันที่อยู่ในพืช
|
ผลิตพืชผักและอาหารต่างๆให้ตรงต่อความต้องการของผู้ซื้อ
โดยคำนึงถึงสุขภาพที่ดีเป็นหลัก
ปัจจัยและพฤติกรรมในการเลือกบริโภค
สะดวก สบาย
ปัญหาการทางธุรกิจ
และกฎหมายที่เกี่ยวข้องการผลิต การบริโภค
การผลิตและการแข่งขันทางการค้าการให้บริการที่ทั่วถึง
มีการกระจายสินค้า และโฆษณา
การแปรรูป การสร้างรายได้
เพื่อเพิ่มมูลค่าให้สินค้า
การจัดการการประกอบการ บัญชี
รายรับ รายจ่าย ต้นทุน กำไร และขาดทุน
|
สร้างระบบนิเวศน์ในพื้นบริเวณรอบๆบ้านของตนเองโดยผสมผสานการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์
วางแผนในการสร้างแหล่งโปรตีนที่ตามท้องตลาดต้องการและสร้างแบบรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
การผลิตอาหารเองเพื่อเป็นอาหารให้ปลาดุกและไก่ไข่ได้ทานแบบปลอดภัย
การผลิตอาหารประเภทวิตามินที่สอดคล้องไปกับวิถีของธรรมชาติ
|
ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้
ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง เคารพ
และอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความหลากหลาย
การจัดการความขัดแย้งและสร้างสันติวิธี มารยาทไทย (การแสดงความเคารพ การสนทนา
การแต่งกา การมีสัมมาคารวะ)
ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
เสียสละและรับผิดชอบต่อสังคม
ขนบธรรมเนียม ประเพณี
ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย
|
ปฏิทินการเรียนรู้บูรณาการ PBL
(Problem Based Learning) คู่ขนาน
หน่วย : การสร้างแหล่งโปรตีน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
Quarter1 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
|
โจทย์ : สร้างฉันทะ/แรงบันดาลใจ
Key
Questions :
-นักเรียนจะเลือกสร้างโปรตีนจากอะไรได้บ้าง
-โปรตีนจากพืชและสัตว์อะไรมีโปรตีนมากกว่ากัน
เครื่องมือคิด:
Round
Robin : ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับการสร้างแหล่งโปรตีน
Show
and share: นำเสนอสิ่งที่สน
Blackboard
Share ตั้งชื่อหน่วย
Care and chart:เรื่องที่ต้องการเรียนรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
-
บรรยากาศในชั้นเรียน
- หนังสือ/ห้องสมุด
-
กระดาษบรู๊ฟ
|
-กระบวนการได้มาซึ่งหัวข้อ
-ครูให้นักเรียนเลือกสิ่งที่นักเรียนสนใจเกี่ยวกับแหล่งการสร้างโปรตีน
-ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม
-นักเรียนเคยสังเกตไหมว่าทำไมเด็กที่รับประทานไก่KFC ทำไมถึงตัวโต?
-นักเรียนจะสร้างแหล่งโปรตีนได้จากอะไรบ้าง?
-นักเรียนคิดว่าการสร้างโปรตีนมีความเกี่ยวข้องกับนักเรียนอย่างไร?
-แบ่งกลุ่มให้นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอความเข้าใจในสิ่งที่นักเรียนสนใจในรูปแบบ
Pace mat
-ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม
-นักเรียนจะสร้างแหล่งโปรตีนอย่างไรให้น่าสนใจและสอดคล้องกับเรื่องที่เรียน
-ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันจากคำถาม
|
ภาระงาน
-การวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามและการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและฟัง
ชิ้นงาน
- Pace mat เรื่องที่นักเรียนสนใจ
|
ความรู้
-เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
สามารถอธิบายและให้เหตุผลในสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
-สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
-มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้และงานที่ทำ
-มีทักษะในการติดต่อสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
-มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มและการเรียนรู้ร่วมกับกลุ่มอื่นได้
ทักษะการสื่อสาร
-มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั่งการพูดการเขียนและการแสดงออก
-เข้าใจและสามารถสรุปความรู้คุณค่า
ทัศนคติ จากสิ่งที่ได้ฟังสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้
ทักษะการคิด
-สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์จากภาพยนตร์ที่ได้ดูแล้วเชื่อมโยงกับตัวเองได้
-สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
-คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบคิดวิเคราะห์สังเคราะห์
คุณลักษณะ
-รักการเรียนรู้กระตือรือร้นในการทำงาน
-เคารพสิทธิหน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
2 – 3
|
โจทย์: การสร้างแหล่งโปรตีน
Key
Questions :
-แหล่งโปรตีนกำเนิดขึ้นได้อย่างไร?
-ใครเป็นคนสร้างโปรตีนM
-ทำไมนักเรียนต้องสร้างแหล่งโปรตีนขึ้นมา?
-ถ้าไม่มีแหล่งโปรตีนจะเกิดอะไรขึ้น
เครื่องมือคิด
Care and chart เรื่องที่นักเรียนอยากเรียนรู้
Show and
share: นำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจในการสร้างแหล่งโปรตีน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
-บรรยากาศรอบบ้านม.3
-หนังสือ ห้องสมุด
-กระดาษบรู๊ฟ
-สี ปากกา
|
-นักเรียนร่วมแสดงความคิดจากคำถาม
-แหล่งโปรตีนกำเนิดขึ้นได้อย่างไร?
-ใครเป็นคนสร้างโปรตีนM
-ทำไมนักเรียนต้องสร้างแหล่งโปรตีนขึ้นมา?
-ถ้าไม่มีแหล่งโปรตีนจะเกิดอะไรขึ้น
-นักเรียนแต่ละคนตอบคำถามลงในกระดาษ
-นักเรียนแต่ละคนจับคู่กับเพื่อนและนำเสนอต่อกลุ่ม
Think Pair Share
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากเรื่องที่ดู
-ครูนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-แบ่งกลุ่ม
สืบค้นข้อมูลเรื่องที่นักเรียนแต่ละกลุ่มสนใจ
-แต่ละกลุ่มนำเสนอในรูปแบบ Time line
-อภิปรายร่วมกัน
-สรุปสิ่งที่ได้เรียนจากการสร้างแหล่งโปรตีน
|
ภาระงาน
-ทำความเข้าใจกับเรื่องการสร้างแหล่งโปรตีน
-การวิเคราะห์คำถาม
ชิ้นงาน
-สรุปการเรียนรู้จากการสร้างแหล่งโปรตีน
|
ความรู้
-เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
สามารถอธิบายและให้เหตุผลในสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
-สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
-มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้และงานที่ทำ
-มีทักษะในการติดต่อสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
-มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มและการเรียนรู้ร่วมกับกลุ่มอื่นได้
ทักษะการสื่อสาร
-มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั่งการพูดการเขียนและการแสดงออก
-เข้าใจและสามารถสรุปความรู้คุณค่า
ทัศนคติ จากสิ่งที่ได้ฟังสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้
ทักษะการคิด
-สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์จากภาพยนตร์ที่ได้ดูแล้วเชื่อมโยงกับตัวเองได้
-สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
-คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบคิดวิเคราะห์สังเคราะห์
คุณลักษณะ
-รักการเรียนรู้กระตือรือร้นในการทำงาน
-เคารพสิทธิหน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
4
|
โจทย์ : การลงพื้นที่ / การลงมือปฏิบัติ
Key
Questions :
-แหล่งโปรตีนที่ดีประกอบด้วยอะไรบ้าง?
-ถ้าไม่มีแหล่งโปรตีนที่ดีจะเกิดอะไรขึ้น?
เครื่องมือคิด
Brainstorm:ระดมความคิดเพื่อการสร้างแหล่งโปรตีน
Round
Robin : ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับการลงพื้นที่ของแต่ละกลุ่ม
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
-
บรรยากาศในชั้นเรียน
-บรรยากาศรอบบ้านม.3
|
-ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มลงพื้นที่ขอตนเอง
-ครูให้นักเรียนออกแบบการเรียนรู้ของตนเองและบันทึกการทำงาน
-ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม
-นักเรียนเห็นอะไรบ้างจากการลงพื้นที่
-นักเรียนได้อะไรจากการลงพื้นที่
-ครูนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-ครูให้นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้จากการลงพื้นที่ในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
|
ภาระงาน
-การวิเคราะห์ข้อมูล
-การออกแบบการเรียน
ชิ้นงาน
-สมุดบันทึก
|
ความรู้
-เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
สามารถอธิบายและให้เหตุผลในสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
-สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
-มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้และงานที่ทำ
-มีทักษะในการติดต่อสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
-มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มและการเรียนรู้ร่วมกับกลุ่มอื่นได้
ทักษะการสื่อสาร
-มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั่งการพูดการเขียนและการแสดงออก
-เข้าใจและสามารถสรุปความรู้คุณค่า
ทัศนคติ จากสิ่งที่ได้ฟังสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้
ทักษะการคิด
-สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์จากภาพยนตร์ที่ได้ดูแล้วเชื่อมโยงกับตัวเองได้
-สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
-คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบคิดวิเคราะห์สังเคราะห์
คุณลักษณะ
-รักการเรียนรู้กระตือรือร้นในการทำงาน
-เคารพสิทธิหน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5
|
โจทย์ : การลงพื้นที่ / การลงมือปฏิบัติ
Key
Questions :
-แหล่งโปรตีนที่ดีประกอบด้วยอะไรบ้าง?
-ถ้าไม่มีแหล่งโปรตีนที่ดีจะเกิดอะไรขึ้น?
เครื่องมือคิด
Brainstorm:ระดมความคิดเพื่อการสร้างแหล่งโปรตีน
Round
Robin : ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับการลงพื้นที่ของแต่ละกลุ่ม
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
-
บรรยากาศในชั้นเรียน
-บรรยากาศรอบบ้านม.3
|
-นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานความคืบหน้าของการดำเนินการ
-นักเรียนลงพื้นที่สำรวจการแปลงเปลี่ยนและดูแลพื้นที่ของตนเอง
-ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม
-นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากสัปดาห์นี้บ้าง?
-นักเรียนเจอปัญหาอะไรบ้างและจะมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไร?
-นักเรียนจะนำความรู้ความเข้าใจที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร?
-สรุปการเรียนรู้ลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
|
ภาระงาน
-การนำเสนอ
ชิ้นงาน
-สมุดบันทึกเล่มเล็ก
|
ความรู้
เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
สามารถอธิบายและให้เหตุผลในสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
-สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
-มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้และงานที่ทำ
-มีทักษะในการติดต่อสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
-มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มและการเรียนรู้ร่วมกับกลุ่มอื่นได้
ทักษะการสื่อสาร
-มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั่งการพูดการเขียนและการแสดงออก
-เข้าใจและสามารถสรุปความรู้คุณค่า
ทัศนคติ จากสิ่งที่ได้ฟังสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้
ทักษะการคิด
-สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์จากภาพยนตร์ที่ได้ดูแล้วเชื่อมโยงกับตัวเองได้
-สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
-คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบคิดวิเคราะห์สังเคราะห์
คุณลักษณะ
-รักการเรียนรู้กระตือรือร้นในการทำงาน
-เคารพสิทธิหน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
6- 7
|
โจทย์ : การดูแลรักษา
Key
Questions :
-นักเรียนจะมีวิธีการดูแลพื้นที่ของตนเองอย่างไร?
-ผลิตที่ได้จะทำอย่างไร
-ข้อดีข้อเสียของการสร้างแหล่งโปรตีนมีอะไรบ้าง?
-อะไรบ้างที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
เครื่องมือคิด
Round
Robin : ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกัน
ร่วมสร้างการเรียนรู้
-ครู
-นักเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
-บรรยากาศรอบๆบ้านม.3
-สถานที่จริงในการสร้างแหล่งโปรตีน
-สี ปากกา
|
-นักเรียนร่วมแสดงความคิดจากคำถาม
-นักเรียนจะมีวิธีการดูแลพื้นที่ของตนเองอย่างไร?
-ผลิตที่ได้จะทำอย่างไร
-ข้อดีข้อเสียของการสร้างแหล่งโปรตีนมีอะไรบ้าง?
-อะไรบ้างที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
-ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบและสืบค้นปัจจัยต่างๆที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของแหล่งการสร้างโปรตีนของแต่ล่ะกลุ่ม
-นำเสนอในรูปแบบ Flow chart
-ครูให้นักเรียนลงพื้นที่และบันทึกสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้
|
ภาระงาน
-สืบค้นข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของแหล่งโปรตีนของแต่ละกลุ่ม
-การนำเสนอ
ชิ้นงาน
- Flow chart
-สมุดบันทึกเล่มเล็ก
|
ความรู้
-เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
สามารถอธิบายและให้เหตุผลในสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
-สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
-มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้และงานที่ทำ
-มีทักษะในการติดต่อสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
-มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มและการเรียนรู้ร่วมกับกลุ่มอื่นได้
ทักษะการสื่อสาร
-มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั่งการพูดการเขียนและการแสดงออก
-เข้าใจและสามารถสรุปความรู้คุณค่า
ทัศนคติ จากสิ่งที่ได้ฟังสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้
ทักษะการคิด
-สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์จากภาพยนตร์ที่ได้ดูแล้วเชื่อมโยงกับตัวเองได้
-สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
-คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบคิดวิเคราะห์สังเคราะห์
คุณลักษณะ
-รักการเรียนรู้กระตือรือร้นในการทำงาน
-เคารพสิทธิหน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
8
|
โจทย์ : การเปลี่ยนแปลง
Key
Questions :
-นักเรียนเห็นอะไร
10 อย่าง ในพื้นที่ของนักเรียนบ้าง?
-ทำไมต้องมีการเปลี่ยนแปลง
-เราจะทำอย่างไรถ้าพื้นที่ของเรามีวัชพืชและแมลงต่างๆโดยไม่สารเคมี?
-ทำไมเราต้องสร้างแหล่งโปรตีนที่ไม่มีสารเคมี?
เครื่องมือคิด
Round
Robin : ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกัน
ร่วมสร้างการเรียนรู้
-ครู
-นักเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
-บรรยากาศรอบๆบ้านม.3
-สถานที่จริงในการสร้างแหล่งโปรตีน
-สี ปากกา
|
-นักเรียนรายงานความคืบหน้าของการดำเนินการ
-นักเรียนร่วมแสดงความคิดจากคำถาม
-นักเรียนเห็นอะไร 10
อย่าง ในพื้นที่ของนักเรียนบ้าง?
-ทำไมต้องมีการเปลี่ยนแปลง
-เราจะทำอย่างไรถ้าพื้นที่ของเรามีวัชพืชและแมลงต่างๆโดยไม่สารเคมี?
-ทำไมเราต้องสร้างแหล่งโปรตีนที่ไม่มีสารเคมี?
-ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
-นักเรียนลงพื้นที่ของตนเองพร้อมทั่งบันทึกการเรียนรู้
|
ภาระงาน
-การนำเสนอความคืบหน้า
-การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถาม
ชิ้นงาน
-สมุดบันทึกเล่มเล็ก
|
ความรู้
เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
สามารถอธิบายและให้เหตุผลในสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
-สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
-มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้และงานที่ทำ
-มีทักษะในการติดต่อสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
-มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มและการเรียนรู้ร่วมกับกลุ่มอื่นได้
ทักษะการสื่อสาร
-มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั่งการพูดการเขียนและการแสดงออก
-เข้าใจและสามารถสรุปความรู้คุณค่า
ทัศนคติ จากสิ่งที่ได้ฟังสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้
ทักษะการคิด
-สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์จากภาพยนตร์ที่ได้ดูแล้วเชื่อมโยงกับตัวเองได้
-สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
-คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบคิดวิเคราะห์สังเคราะห์
คุณลักษณะ
-รักการเรียนรู้กระตือรือร้นในการทำงาน
-เคารพสิทธิหน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
9 - 10
|
โจทย์
: การบำรุงรักษาและเก็บผลผลิต
Key
Questions :
-สถานที่นักเรียนเลือกสร้างแหล่งโปรตีนคิดว่าดีที่สุดหรือไม่?
-ทำไมต้องดูและรักษาสถานที่?
-ปุ๋ย
กับน้ำ มีผลต่อการแปลงไหมของแหล่งโปรตีนไหม?
-ถ้ามีผลิตมากๆเราจะจัดการกับผลิตอย่างไร?
-เราจะดูแลรักษาและต่อยอดจากผลิตที่เราสร้างได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
Round
Robin : ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกัน
ร่วมสร้างการเรียนรู้
-ครู
-นักเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
-บรรยากาศรอบๆบ้านม.3
-สถานที่จริงในการสร้างแหล่งโปรตีน
-สี ปากกา
|
-นักเรียนรายงานความคืบหน้าของการดำเนินการ
-นักเรียนร่วมแสดงความคิดจากคำถาม
-สถานที่นักเรียนเลือกสร้างแหล่งโปรตีนคิดว่าดีที่สุดหรือไม่?
-ทำไมต้องดูและรักษาสถานที่?
-ปุ๋ย กับน้ำ มีผลต่อการแปลงไหมของแหล่งโปรตีนไหม?
-ถ้ามีผลิตมากๆเราจะจัดการกับผลิตอย่างไร?
-เราจะดูแลรักษาและต่อยอดจากผลิตที่เราสร้างได้อย่างไร?
-ครูนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-
นักเรียนลงพื้นที่
-ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม
-นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากสัปดาห์นี้บ้าง?
-นักเรียนเจอปัญหาอะไรบ้างและจะมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไร?
-นักเรียนจะนำความรู้ความเข้าใจที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร?
-สรุปการเรียนรู้ลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
|
ภาระงาน
-การนำเสนอความคืบหน้า
-การระดมความคิด
ชิ้นงาน
-สมุดบันทึกเล่มเล็ก
|
ความรู้
-เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
สามารถอธิบายและให้เหตุผลในสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
-สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
-มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้และงานที่ทำ
-มีทักษะในการติดต่อสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
-มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มและการเรียนรู้ร่วมกับกลุ่มอื่นได้
ทักษะการสื่อสาร
-มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั่งการพูดการเขียนและการแสดงออก
-เข้าใจและสามารถสรุปความรู้คุณค่า
ทัศนคติ จากสิ่งที่ได้ฟังสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้
ทักษะการคิด
-สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์จากภาพยนตร์ที่ได้ดูแล้วเชื่อมโยงกับตัวเองได้
-สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
-คิดวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบคิดวิเคราะห์สังเคราะห์
คุณลักษณะ
-รักการเรียนรู้กระตือรือร้นในการทำงาน
-เคารพสิทธิหน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
11
|
โจทย์
: สรุปองค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้แหล่งสร้างโปรตีน” Quarter1
Key Questions
-นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน
Quarter1 นี้
-นักเรียนสามารถคิดว่าสิ่งใดที่ดีแล้วและสิ่งใดที่ควรพัฒนา?
เครื่องมือคิด
Round Robin การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ผ่านทั่ง
Quarter1
Show and share นำเสนอการประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำอะไรได้ดีแล้ว
และอะไรที่ต้องพัฒนา
Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังการเรียนรู้
|
-ครูกระตุ้นคำถามการคิด
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้
-ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-ครูกระตุ้นคำถามการคิด
นักเรียนคิดว่าสิ่งใดที่ดีแล้วและสิ่งใดที่ควรพัฒนา
-นักเรียนใคร่ครวญถึงสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่ตนเองควรพัฒนา
-นักเรียนทำสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่พัฒนา
|
ภาระงาน
-การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ผ่านมาทั่ง
Quarter
-การใคร่ครวญในสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาของตนเอง
-การแลกเปลี่ยนสะท้อนสิ่งกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดทั่งสัปดาห์
ชิ้นงาน
-สิ่งที่ดีแล้ว
สิ่งที่ควรพัฒนา
สรุปการเรียนรู้บันทึกเล่มเล็ก
|
ความรู้
เข้าใจกระบวนการการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและโครงสร้างของสิ่งต่างๆเห็นความสัมพันธ์การดำรงชีวิต
การเปลี่ยนแปลงปฏิสัมพันธ์สามารถสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของตนเองและสิ่งแวดล้อม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-การวางแผนในการทำงานกลุ่ม
-สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันได้
ทักษะการจัดการเรียนรู้
การวิเคราะห์และจัดการข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอเกี่ยวกับเรื่องพลังรูปแบบต่างๆ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
-การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการทดลองเรื่องพลังงาน
คุณลักษณะ
-การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
-มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
ทักษะICT
-อธิบายและรู้แหล่งที่มาของข้อมูลที่หลากหลาย
-เลือกใช้
และสืบค้นข้อมูลได้ตามวัตถุประสงค์
-วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลได้อย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
12-18
|
โจทย์ การสร้างแหล่งโปรตีน
Key Questions:
-
นักเรียนจะสร้างแหล่งโปรตีนได้อย่างไรให้ปลอดภัย
เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
-ครู
-นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-ห้องสมุด
-internet
-บรรยากาศในห้องเรียน
|
-ครูทบทวนการสร้างแหล่งโปรตีนในQ ที่ 1 ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด” นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง “?
-ครูเล่าเรื่องราวของ
โจ้ จัน ได ให้นักเรียนฟังเกี่ยวกับการเก็บเมล็ดพันธุของพืช
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
“
ถ้านักเรียนจะเลือกเพาะเมล็ดพันธุ 1 ชนิด นักเรียนจะเลือกเพาะเมล็ดชนิดใดเพราะเหตุใด”?
-นักเรียนประมวลความรู้และตั้งคำถาม
-ครูให้นักเรียนออกแบบโจทย์การเรียนรู้แบบมีมิติ
-นักเรียนนำเสนอการออกแบบโจทย์การเรียนรู้
-นักเรียนลงมือเพาะเมล็ดพันธุที่นักเรียนเลือก
-ครูนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด”
นักเรียนจะดำเนินการต่อกับ
PBL คู่ขนานของนักเรียนต่ออย่างไรเพราะเหตุใด
“?
-กลุ่ม
ถั่วงอก ต้องเพาะถั่วงอกในQ นี้ อย่างน้อย 7 รอบ
-กลุ่มยอดอ่อนทานตะวัน
ต้องเพาะยอดอ่อนใน Q นี้
4 รอบ
-กลุ่ม
ถั่วเขียว ถั่วดิน ต้องลงพื้นที่ทุกวัน วันละ 20 นาทีเพื่อดูแลพื้นที่
-กลุ่มปลาดุก
ใน Q นี้
ต้องสามารถจับปลามาทำอาหารได้ 1 รอบ ให้อาหาร 3 เวลาและดูแลความสะอาดในบ่อและรอบๆบริเวณ
-การสร้างโปรตีนทุนกลุ่มต้องดูแลเมล็ดพันธุของตัวเองที่เพาะควบคู่ไปด้วยเพื่อที่จะได้ดูแลตั้งแต่ยังไม่งอกจนสามารถเก็บผลผลิตได้และต้องจดบันทึกการเปลี่ยนทุกวัน
-ครูทบทวนบทบาทหน้าที่
-
ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมาในสัปดาห์นี้ร่วมกัน : นักเรียนได้เรียนรู้อะไรมาบ้างในสัปดาห์นี้
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมาตลอดทั้งสัปดาห์
-นักเรียนประเมินตนเองสิ่งที่ทำได้ดีแล้วกับสิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 19 |
ภาระงาน
-วิเคราะห์สิ่งที่จะสร้างแหล่งโปรตีน
-สืบค้นข้อมูล
-ดูแลพื้นที่ของตนเอง
-ดูแลเมล็ดพันธุ์
ชิ้นงาน
-สมุดบันทึกการเปลี่ยนแปลง
-ผลผลิตที่ได้
|
ความรู้
เข้าใจกระบวนการการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและโครงสร้างของสิ่งต่างๆเห็นความสัมพันธ์การดำรงชีวิต
การเปลี่ยนแปลงปฏิสัมพันธ์สามารถสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของตนเองและสิ่งแวดล้อม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-การวางแผนในการทำงานกลุ่ม
-สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันได้
ทักษะการจัดการเรียนรู้
การวิเคราะห์และจัดการข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอเกี่ยวกับเรื่องพลังรูปแบบต่างๆ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน
ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
-การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการทดลองเรื่องพลังงาน
คุณลักษณะ
-การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
-มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
ทักษะICT
-อธิบายและรู้แหล่งที่มาของข้อมูลที่หลากหลาย
-เลือกใช้ และสืบค้นข้อมูลได้ตามวัตถุประสงค์
-วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลได้อย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
19
|
โจทย์
: สรุปองค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้แหล่งสร้างโปรตีน” Quarter1
Key Questions
-นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน
Quarter1 นี้
-นักเรียนสามารถคิดว่าสิ่งใดที่ดีแล้วและสิ่งใดที่ควรพัฒนา?
เครื่องมือคิด
Round Robin การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ผ่านทั่ง
Quarter1
Show and share นำเสนอการประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำอะไรได้ดีแล้ว
และอะไรที่ต้องพัฒนา
Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังการเรียนรู้
|
-ครูกระตุ้นคำถามการคิด
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้
-ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-ครูกระตุ้นคำถามการคิด
นักเรียนคิดว่าสิ่งใดที่ดีแล้วและสิ่งใดที่ควรพัฒนา
-นักเรียนใคร่ครวญถึงสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่ตนเองควรพัฒนา
-นักเรียนทำสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่พัฒนา
|
ภาระงาน
-การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ผ่านมาทั่ง
Quarter
-การใคร่ครวญในสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาของตนเอง
-การแลกเปลี่ยนสะท้อนสิ่งกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดทั่งสัปดาห์
ชิ้นงาน
-สิ่งที่ดีแล้ว
สิ่งที่ควรพัฒนา
สรุปการเรียนรู้บันทึกเล่มเล็ก
|
ความรู้
เข้าใจกระบวนการการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและโครงสร้างของสิ่งต่างๆเห็นความสัมพันธ์การดำรงชีวิต
การเปลี่ยนแปลงปฏิสัมพันธ์สามารถสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของตนเองและสิ่งแวดล้อม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
-การวางแผนในการทำงานกลุ่ม
-สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันได้
ทักษะการจัดการเรียนรู้
การวิเคราะห์และจัดการข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอเกี่ยวกับเรื่องพลังรูปแบบต่างๆ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน
ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นและรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
-การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการทดลองเรื่องพลังงาน
คุณลักษณะ
-การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
-มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
ทักษะICT
-อธิบายและรู้แหล่งที่มาของข้อมูลที่หลากหลาย
-เลือกใช้
และสืบค้นข้อมูลได้ตามวัตถุประสงค์
-วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลได้อย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน
|